โปรตีนทางเลือกเทรนด์อาหารเพื่ออนาคต เติบโตอย่างที่คิด?
ปัจจุบันอาหารที่เป็นโปรตีนทางเลือกถูกพัฒนาให้ดูน่ากินมากยิ่งขึ้น โดยมักจะมาในรูปแบบที่มีความใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์จริงๆ มากที่สุด สามารถนำไปประกอบอาหารได้แบบเดียวกับเนื้อสัตว์และได้โปรตีนไม่ต่างกัน ทั้งนี้ทั้งนั้น หลายคนก็คิดว่ามันแทนกันไม่ได้อยู่ดี การกินเนื้อสัตว์ปลอมที่ทำจากพืชไม่อาจทำให้การกินเนื้อหมู เนื้อไก่เหมือนการกินเนื้อสัตว์จริงๆ ถึงจะพัฒนาให้เหมือนมาก มันก็ไม่ใช่อยู่ดี และก็แยกออกด้วยว่าไม่ใช่เนื้อสัตว์จริงๆ
เครื่องจักรทำอาหารเพิ่มกำไรและสร้างแบรนด์ได้ ใช่หรือเปล่า ?
เกี่ยวกับเรา ตราสินค้า ข่าวสารและบทความ ติดต่อเรา
ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน
นอกจากนี้ ยังมองว่าการทำตลาดจะเป็นส่วนสร้างโอกาสทางการค้ามากขึ้น รุกช่องทางบุกตลาดผ่านออนไลน์ เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการทดลองสินค้าใหม่ๆ หรือการใช้อินฟลูเอนเซอร์ มาช่วยรีวิวสินค้า ซึ่งจะทำให้สินค้าไทยมีโอกาสเข้าถึงตลาดสหรัฐฯ ได้เพิ่มขึ้น
ของว่างประเภทแท่ง เช่น เนยถั่วแท่ง โปรตีนช็อกโกแลตชิปแท่ง กราโนล่าแท่งและผลิตภัณฑ์ทดแทนมื้ออาหาร
ที่สำคัญคือ “โปรตีนทางเลือก” นอกจากจะเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคแล้ว ยังเป็นการสร้างโอกาสใหม่ทางธุรกิจอีกด้วย
โปรตีนทางเลือกโปรตีนจากพืชโปรตีนสุขภาพกายโภชนาการดูแลสุขภาพสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพอาหาร
• โปรตีนทางเลือก ริมฝั่งเจ้าพระยา โดย สุนันท์ ศรีจันทรา
กลุ่มบุคคลที่ใส่ใจสุขภาพ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและต้องการผนวกโปรตีนเข้ากับอาหาร, กลุ่มบุคคลที่มีไลฟ์สไตล์ที่กระฉับกระเฉง เช่น นักกีฬา, กลุ่มบุคคลที่มีตารางชีวิตค่อนข้างแน่นหรือมีอาชีพการงานที่ค่อนข้างยุ่งวุ่นวาย และกลุ่มผู้บริโภคที่ควบคุมอาหารและมีความต้องการเฉพาะเจาะจง เช่น อาหารที่มีโปรตีนสูงคาร์โบไฮเดรต นอกจากนี้ “ทูตพาณิชย์เกาหลีใต้” รายงานว่าตลาดอาหารทางเลือกของเกาหลีใต้ที่กำลังเติบโต นับเป็นโอกาสในการส่งออกอาหารทางเลือกของไทยเข้าสู่ตลาดเกาหลีใต้
เทรนด์การทำงานในอนาคต หลังไทยติดโควิด นานเกือบสองปี!
เทรนด์อาหารเพื่อสุขภาพของมนุษย์ และเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของโลก
“โปรตีนทางเลือก” คืออะไร? ทำไมจึงมีแนวโน้มเติบโตในอาเซียน?
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นทำให้เริ่มมีการพัฒนาเนื้อสัตว์เทียมอีกชนิดหนึ่งที่เหมือนกับเนื้อสัตว์จริงมากขึ้น คือเนื้อที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเซลล์ของสัตว์จริง ๆ หรือที่เรียกกันว่า lab-grown หรือ cultured meat ด้วยกระบวนการผลิตจากการเพาะเซลล์ให้โตขึ้นมาภายในห้องปฏิบัติการ กลายมาเป็นเนื้อที่ประกอบไปด้วยไขมัน กล้ามเนื้อ และเนื้อแดงของสัตว์ที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่สามารถนำมาปรุงอาหารรับประทานได้ ผลลัพธ์คือเนื้อสัตว์ที่เหมือนเนื้อสัตว์จริงแต่ไม่ได้มาจากการเลี้ยงและฆ่าสัตว์ ในปัจจุบันต้นทุนการผลิต cultured meat ยังสูงมาก แต่ก็มีแนวโน้มลดลงมาอย่างรวดเร็ว และในอนาคตอีกไม่ไกลต้นทุนการผลิตน่าจะลดลงมาอยู่ในระดับที่จะทำให้ผู้บริโภคจำนวนมากเข้าถึงได้